นิยายปรัมปรา เรื่องวิวัฒนาการของปลากับปอด
แหล่ง
ข้อมูลของนักวิวัฒนาการนิยม ต่างยอมรับ
ความเป็นไปเป็นมาการวิวัฒนาการจากปลากลายเป็นสัตว์บกที่ใช้ปอดในการหายใจ
พวกมันกลายเป็นตำนานสัตว์มีกระดูกสันหลัง ชนิดแรกๆ ที่อพยพขึ้นบก เพื่อ
สร้างกระแสให้กระพือขึ้นมา
จึงต้องประโคมฉากการเปลี่ยนโครงสร้างจากเกล็ดกลายเป็นขาออก
จากเหงือกกลายเป็นปอดสัตว์ เพื่อดึงออกซิเจนจากอากาศหายใจ
(ดังที่เราเคยเห็นในสารคดีที่ถ่ายทอดในโทรทัศน์ หนังสือต่างๆ ฯลฯ )
การจัดฉากดังกล่าวเป็นเพียงแค่การคาดการณ์ของนักวิวัฒนาการนิยมเท่านั้น
โดยปราศจากหลักฐานทางวิทยาศาสตร์มาสนับสนุนไม่
ตรง
กันข้าม หลักฐานทางวิทยาศาสตร์ที่ค้นพบ
ต่างค้านกับความเชื่อของนักวิวัฒนาการนิยม โดยเฉพาะต่อความอ่อนหัดของนิยาย
“วิวัฒนาการของปลากับปอด” ที่เรามักพบทั่วไปในงานวรรณกรรมของคนกลุ่มนี้
สัตว์ประเภท “ปลา” ที่เขาคิด สามารถใช้ปอด ในการดึงออกซิเจนจากอากาศ (อย่างสบายๆ-ผู้
แปล) โดยมีกระบวนการแมทาบอลิซึมคล้ายกับสัตว์ที่อาศัยบนบก
(อย่างประหลาด-ผู้แปล) ทั้งๆที่เราทราบว่า ธรรมชาติของปลาโดยส่วนใหญ่แล้ว
ต้องว่ายโพล่เหนือน้ำ เพื่อรับออกซิเจน ประมาณ 20 นาที
ต่อครั้ง หรือมีปลาบางประเภท สามารถฝังตัวเองในโคลน ในช่วงแห้งแล้ง
หรือช่วงน้ำลด เพื่อลดกระบวนการแมทาบอลิซึมของร่างกาย ที่เรียกว่า
“การจำศีล” ซึ่งต้องใช้ระยะเวลาเป็นเดือน หรือบางครั้งก็เป็นปี
จนกว่าฝนจะตกอีกครั้งหนึ่ง (พฤติกรรมเหล่านี้ แสดงว่าสัตว์ประเภทนี้
มีโครงสร้างที่ไม่เหมาะต่อการดำรงชีวิตบนบก-ผู้แปล)
ใน
หมู่นักวิวัฒนาการนิยม บางกลุ่ม กล่าวอ้างว่า สิ่งมีชีวิตดังกล่าว
ได้ถูกกำเนิด มาช้านานแล้ว ลักษณะสัณฐานนั้น
เกิดจากการผสมระหว่างสิ่งมีชีวิตสองประเภท ตามการคาดการณ์ของคนกลุ่มนี้
มีสัตว์ประเภทหนึ่ง ลักษณะคล้ายปลา ลำตัวเล็ก ความพิเศษของมัน คือ สามารถอาศัยในภาวะที่ขาดน้ำได้ มันมีชีวิตในยุคเดโวเนียน (Devonian Period) ราวๆ 300 ล้านปีมาแล้ว พวกมันสามารถเรียนรู้พฤติกรรมการเดินจากสระน้ำหนึ่งไปยังอีกสระหนึ่ง จนเกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของร่างกาย เป็นแบบกึ่งสัตว์น้ำ กึ่งสัตว์บกซึ่งต่อมากลายเป็นบรรพบุรุษของสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ (amphibians) (และสัตว์สี่เท้า (and quadrupeds))นั่นเอง
โครงสร้างและอวัยวะระหว่างสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำและปลาปอด (fish lung) ซึ่งเป็นบรรพบุรุษของสัตว์ชนิดนี้ มีความแตกต่างอย่างมาก ดังที่ปรากฏในวารสาร Journal of Molecular Evolution โดยมี C. Marshall และ H. P. Schultz ได้ ทำวิจัยในหัวข้อเรื่อง “การวิเคราะห์โครงสร้างฟอสซิลปลาซีลาคานและปลาปอด” ผลการวิจัย สร้างขัดแย้งต่อความเชื่อวิวัฒนาการของสัตว์จำพวก tetrapods.” (Marshall C. and Schultze HP. Journal of Molecular Evolution 35 (2): 93-101, 1992.)
โครงสร้างและอวัยวะระหว่างสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำและปลาปอด (fish lung) ซึ่งเป็นบรรพบุรุษของสัตว์ชนิดนี้ มีความแตกต่างอย่างมาก ดังที่ปรากฏในวารสาร Journal of Molecular Evolution โดยมี C. Marshall และ H. P. Schultz ได้ ทำวิจัยในหัวข้อเรื่อง “การวิเคราะห์โครงสร้างฟอสซิลปลาซีลาคานและปลาปอด” ผลการวิจัย สร้างขัดแย้งต่อความเชื่อวิวัฒนาการของสัตว์จำพวก tetrapods.” (Marshall C. and Schultze HP. Journal of Molecular Evolution 35 (2): 93-101, 1992.)
วารสาร the Proceedings of the Linnean Society ออกมายอมรับ จุดจบของต้นกำเนิดวิวัฒนาการของปลาปอด คือ “...ปลาปอด มีลักษณะคล้ายกับปลาทั่วๆไปที่เรารู้จัก เราเชื่อมั่นเหลือว่า จุดกำเนิดของมันเกิดจากการไม่มีอะไร (ไม่มีความพิเศษอะไรเลย-ผู้แปล) ” (Quoted in W. R. Bird, The Origin of Species Revisited [Nashville: Regency, 1991; originally published by Philosophical Library, 1987], 1:62-63)
ในหนังสือ “วิวัฒนาการ : วิกฤตการณ์ของทฤษฎี” โดย Michael Denton นักชีวโมเลกุล (molecular biologist) ตอน หนึ่งท่านได้กล่าวถึงนักวิวัฒนาการนิยมได้อธิบายการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของปลา ปอดนั้น วิวัฒนาการจากสัตว์พวกปลาและสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ แต่มีลักษณะพิเศษเฉพาะตัวของมันนั้น “เป็นไปได้ยากมากที่สัตว์ชนิดหนึ่ง จะแสดงคุณลักษณะระหว่างสองสิ่ง” ("Evolution: A Theory in Crisis", Michael Denton, Adler and Adler: Bethesda, Maryland, 3rd ed. 1986, p. 109)
ในหนังสือ “วิวัฒนาการ : วิกฤตการณ์ของทฤษฎี” โดย Michael Denton นักชีวโมเลกุล (molecular biologist) ตอน หนึ่งท่านได้กล่าวถึงนักวิวัฒนาการนิยมได้อธิบายการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของปลา ปอดนั้น วิวัฒนาการจากสัตว์พวกปลาและสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ แต่มีลักษณะพิเศษเฉพาะตัวของมันนั้น “เป็นไปได้ยากมากที่สัตว์ชนิดหนึ่ง จะแสดงคุณลักษณะระหว่างสองสิ่ง” ("Evolution: A Theory in Crisis", Michael Denton, Adler and Adler: Bethesda, Maryland, 3rd ed. 1986, p. 109)
หลัก
ฐานทางฟอสซิลไม่ได้ยืนยันฉากการชวนเชื่อต่อการเกิดของปลาปอดแม้แต่น้อย
แม้เวลาจะผ่านร้อยล้านปีก็ตาม ซากฟอสซิลของปลาปอดยังคงเงียบอยู่ในนิทรา
ความ
พยายามความเชื่อดังกล่าวกระจายไปนั้น จึงจำเป็นต้องสร้างฉากการ โฆษณาต่อไป
ถึงแม้ว่ามันไม่สามารถรองรับด้วยหลักการทางวิทยาศาสตร์ก็ตาม