welcome to my blog ยินดีต้อนรับเข้าสู่บล็อกค้ะ

วันอังคารที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2554

สัญลักษณ์ ที่ควรรู้ !!

· ก่อมะเร็ง

· หากสูดเข้าไปทำให้เกิด
การแพ้หรือหอบหืดหรือ หายใจลำบาก

· เป็นพิษต่อระบบสืบพันธุ์

· เป็นพิษต่อระบบอวัยวะ เป้าหมาย

· ก่อให้เกิดการกลายพันธุ์

· อันตรายจากการสำลัก


· เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตในน้ำ




· ระวังกัดกร่อน

การใช้ครุฑเป็นสัญลักษณ์


ด้วยฤทธานุภาพของพญาครุฑ จึงได้มีการสร้างรูป ครุฑพ่าห์ (หรือ พระครุฑพ่าห์) หมายถึง ครุฑซึ่งเป็นพาหนะ เป็นรูปครุฑกางปีก และใช้เป็นสัญลักษณ์สำคัญเกี่ยวกับพระมหากษัตริย์ของไทยก็มีมาแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ด้วยว่าไทยเราได้รับลัทธิเทวราชของอินเดียที่ ถือว่าพระมหากษัตริย์คืออวตารของพระนารายณ์ ดังนั้น ครุฑซึ่งเป็นผู้มีฤทธิ์มากและเป็นพาหนะของพระนารายณ์ จึงเป็นสัญลักษณ์แทนพระมหากษัตริย์ ดังที่ปรากฏอยู่ในดวงตราหรือพระราชลัญจกรประจำพระองค์ ประจำแผ่นดิน ประจำราชวงศ์ และประจำรัชกาล เป็นต้น

ซึ่งจากการที่เราใช้ตราครุฑเป็นพระราชลัญจกรสำหรับประทับหนังสือราชการแผ่นดินที่เป็นพระบรมราชโองการ และใช้พระราชลัญจกรพระครุฑพ่าห์ประทับ หนังสือราชการแผ่นดินมาแต่โบราณกาล ต่อมาจึงได้มีการใช้ ตราครุฑ เป็นหัวกระดาษของหนังสือของราชการทั่วๆไปด้วย เพื่อให้ทราบว่างานนั้นเป็นราชการ ส่วนรูปครุฑที่เป็นธงแทนองค์พระมหากษัตริย์นั้นเรียกว่า ธงมหาราช เป็นรูปครุฑสีแดงอยู่บนพื้นธงสีเหลือง เริ่มใช้ในสมัยรัชกาลที่ 4 ธงมหาราชนี้เมื่อเชิญขึ้นเหนือเสา ณ พระราชวังใดแสดงว่าพระมหากษัตริย์ประทับอยู่ ณ ที่นั้น

สำหรับครุฑที่ปรากฏอยู่ในขบวนเรือหลวงก็มีอยู่ 3 ลำคือเรือครุฑเหินเห็จ เป็นหัวโขนรูปพญาครุฑสีแดงยุดนาค เรือครุฑเตร็จไตรจักรเป็นหัวโขนรูปพญาครุฑสีชมพูยุดนาค และ เรือพระที่นั่งนารายณ์ทรงสุบรรณ รัชกาลที่ 9 เป็นรูปพระนารายณ์ทรงครุฑ เป็นเรือที่สร้างขึ้นในรัชกาลปัจจุบัน

นอกเหนือจากการที่ตราครุฑปรากฏในส่วนราชการต่างๆแล้ว ในภาคเอกชนก็สามารถรับพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ใช้ตราครุฑหรือตราแผ่นดิน ในกิจการได้ด้วย โดยเริ่มมีมาแต่รัชกาลที่ 5 ซึ่งเดิมเป็นตราอาร์ม โดยมีข้อความประกอบว่า โดยได้รับพระบรมราชานุญาต ต่อมาในรัชกาลที่ 6 ได้เปลี่ยนตราแผ่นดินเป็นตราพระครุฑพ่าห์ การพระราชทานตรานี้ แต่เดิมถือเป็นพระมหากรุณาธิคุณที่จะพระราชทานตามพระราชอัธยาศัย ผู้ได้รับนอกจากจะเป็นช่างหลวง เช่น ช่างทอง ช่างถ่ายรูป เป็นต้นแล้ว ก็มักจะเป็นผู้ประกอบกิจการค้ากับราชสำนัก และเป็นประโยชน์ต่อราชการงานแผ่นดิน

ปัจจุบันการขอพระราชทานตราตั้งนี้ต้องยื่นคำขอต่อสำนักพระราชวัง เพื่อพิจารณานำความขึ้นกราบบังคมทูลขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต ซึ่งตราตั้งนี้ถือเป็นของพระราชทานเฉพาะบุคคล สิทธิรับพระราชทานและการใช้เครื่องหมายนี้จะสิ้นสุดเมื่อสำนักพระราชวัง เรียกคืนเนื่องจากบุคคล ห้างร้าน บริษัทที่ได้รับพระราชทานฯตาย หรือเลิกประกอบกิจการหรือโอนกิจการให้ผู้อื่น หรือสำนักพระราชวังเห็นสมควรเพิกถอนสิทธิ

ประเทศอินโดนีเซียเป็น อีกประเทศหนึ่ง ที่ใช้ครุฑ (Garuda) เป็นตราประจำแผ่นดิน โดยครุฑของอินโดนีเซียนั้นเป็นนกอินทรีทั้งตัว สายการบินประจำชาติอินโดนีเซียก็ใช้ครุฑเป็นสัญลักษณ์ คือสายการบิน Garuda Airlines



เพื่อนใหม่... ที่คุยกันไม่้ค้อยจะเข้าใจ ต้องคุยกันบ่อยๆ เพื่อ อะไรๆ จะได้ดีขึ้นนน 55+.

History of the classical guitar


Before the development of the electric guitar and the use of synthetic materials, a guitar was defined as being an instrument having "a long, fretted neck, flat wooden soundboard, ribs, and a flat back, most often with incurved sides".[1] The term is used to refer to a number of related instruments that were developed and used across Europe beginning in the 12th century and, later, in the Americas.[2] These instruments are descended from ones that existed in ancient central Asia and India. For this reason guitars are distantly related to modern instruments from these regions, including the tanbur, the setar, and the sitar. The oldest known iconographic representation of an instrument displaying the essential features of a guitar is a 3,300 year old stone carving of a Hittite bard.[3]

The modern word guitar, and its antecedents, have been applied to a wide variety of cordophones since ancient times and as such is the cause of confusion. The English word guitar, the German gitarre, and the French guitare were adopted from the Spanish guitarra, which comes from the Andalusian Arabic قيثارةر qitara,[4] itself derived from the Latin cithara, which in turn came from the Ancient Greek κιθάρα kithara,[5] and is thought to ultimately trace back to the Old Persian language. Tar means string in Persian.

Although the word guitar is descended from the Latin word cithara, the modern guitar itself is not generally believed to have descended from the Roman instrument. Many influences are cited as antecedents to the modern guitar. One commonly cited influence is of the arrival of the four-string oud, which was introduced by the invading Moors in the 8th century.[6] Another suggested influence is the six-string Scandinavian lut (lute), which gained in popularity in areas of Viking incursions across medieval Europe[citation needed]. Often depicted in carvings c. 800 AD[citation needed], the Norse hero Gunther (also known as Gunnar), played a lute with his toes as he lay dying in a snake-pit, in the legend of Siegfried. It is likely that a combination of influences led to the creation of the guitar; plucked instruments from across the Mediterranean and Europe were well known in Iberia since antiquity[citation needed].

Two medieval instruments that were called "guitars" were in use by 1200: the guitarra moresca (Moorish guitar) and the guitarra latina (Latin guitar). The guitarra moresca had a rounded back, wide fingerboard, and several soundholes. The guitarra Latina had a single soundhole and a narrower neck.[7] By the 14th century the qualifiers "moresca" and "latina" had been dropped and these two cordophones were usually simply referred to as guitars.[8]

The Spanish vihuela or (in Italian) "viola da mano", a guitar-like instrument of the 15th and 16th centuries, is widely considered to have been a seminal influence in the development of the guitar. It had six courses (usually), lute-like tuning in fourths and a guitar-like body, although early representations reveal an instrument with a sharply cut waist. It was also larger than the contemporary four course guitars. By the late 15th century some vihuelas were played with a bow, leading to the development of the viol. By the sixteenth century the vihuela's construction had more in common with the modern guitar, with its curved one-piece ribs, than with the viols, and more like a larger version of the contemporary four-course guitars. The vihuela enjoyed only a short period of popularity in Spain and Italy during an era dominated elsewhere in Europe by the lute; the last surviving published music for the instrument appeared in 1576. Meanwhile the five-course baroque guitar, which was documented in Spain from the middle of the 16th century, enjoyed popularity, especially in Spain, Italy and France from the late 16th century to the mid 18th century.[9][10] Confusingly, in Portugal, the word vihuela referred to the guitar, whereas guitarra meant the "Portuguese guitar", a variety of cittern.

วันจันทร์ที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2554

วันอาทิตย์ที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2554

พระราชกรณียกิจของพ่อขุนรามคำแหงมหาราช



รัชสมัยของพ่อขุนรามคำแหงม

หาราชเป็นยุคที่กรุงสุโขทัยเฟื่องฟูและเจริญขึ้นกว่าเดิมเป็นอันมาก ระบบการปกครองภายในก่อให้เกิดความสงบเรียบร้อยอย่างมีประสิทธิภาพ มีการติดต่อสัมพันธ์กับต่างประเทศทั้งในด้านเศรษฐิกิจและการเมือง ประชาชนอยู่ดีกินดี สภาพบ้านเมืองก้าวหน้าทั้งทางเกษตร การชลประทาน การอุตสาหกรรม และการศาสนา อาณาเขตของกรุงสุโขทัยได้ขยายออกไปกว้างใหญ่ไพศาล

]การบริหารรัฐกิ

เมื่อพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ทรงขจัดอิทธิพลของเขมรออกไปจากกรุงสุโขทัยได้ในปลายพุทธศตวรรษที่ 18 การปกครองของกษัตริย์สุโขทัยได้ใช้ระบบปิตุราชาธิปไตยหรือ "พ่อปกครองลูก" ดังข้อความในศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงว่า

Cquote1.svg

...เมื่อชั่วพ่อกู กูบำเรอแก่พ่อกู กูได้ตัวเนื้อตัวปลา กูเอามาแก่พ่อกู กูได้หมากส้มหมากหวาน อันใดกินอร่อยดี กูเอามาแก่พ่อกู กูไปตีหนังวังช้างได้ กูเอามาแก่พ่อกู กูไปท่อบ้านท่อเมือง ได้ช้างได้งวง ได้ปั่วได้นาง ได้เงือนได้ทอง กูเอามาเวนแก่พ่อกู...

Cquote2.svg

ข้อความดังกล่าวแสดงการนับถือบิดามารดา และถือว่าความผูกพันในครอบครัวเป็นเรื่องสำคัญ ครอบครัวทั้งหลายรวมกันเข้าเป็นเมืองหรือรัฐ มีเจ้าเมืองหรือพระมหากษัตริย์เป็นหัวหน้าครอบครัว

ปรากฏข้อความในศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงว่าพ่อขุนรามคำแหงมหาราชทรงใช้พระราชอำนาจในการยุติธรรมและนิติบัญญัติไว้ดังต่อไปนี้ 1) ราษฎรสามารถค้าขายได้โดยเสรี เจ้าเมืองไม่เรียกเก็บจังกอบหรือภาษีผ่านทาง 2) ผู้ใดล้มตายลง ทรัพย์มรดกก็ตกแก่บุตร และ 3) หากผู้ใดไม่ได้รับความเป็นธรรมในกรณีพิพาท ก็มีสิทธิไปสั่นกระดิ่งที่แขวนไว้หน้าประตูวังเพื่อถวายฎีกาต่อพระมหากษัตริย์ได้

นอกจากนี้ พ่อขุนรามคำแหงมหาราชยังทรงใช้พุทธศาสนาเป็นเครื่องช่วยในการปกครอง โดยได้ทรงสร้างพระแท่นมนังคศิลาบาตรขึ้น เพื่อให้พระเถรานุเถระแสดงพระธรรมเทศนาแก่ประชาชนในวันพระ ส่วนวันธรรมดาพระองค์จะเสรด็จประทับเป็นประธานให้เจ้านายและข้าราชการปรึกษาราชการร่วมกัน

พระราชกรณียกิจที่สำคัญของพ่อขุนรามคำแหง มีดังนี้ 1. ด้านการเมืองการปกครอง พระราชกรณียกิจทางด้านการเมืองการปกครองของพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ประกอบด้วย 1.1 ทรงทำสงครามขยายอาณาเขตไปอย่างกว้างขวางมากที่สุดในสมัยสุโขทัย 1.2 โปรดให้สร้างพระแท่นศิลาขึ้น เรียกว่า “พระแท่นมนังคศิลาบาตร” ตั้งไว้กลางดงตาลสำหรับไว้ให้พระภิกษุสงฆ์ขึ้นแสดงธรรมสวนะและทรงใช้เป็นที่ประทับสำหรับอบรมสั่งสอนบรรดาขุนนางและพสกนิกรในวันธรรมดา 1.3 ทรงเอาพระทัยใส่ดูแลทุกข์สุขของราษฎรอย่างใกล้ชิด พระองค์โปรดให้แขวนกระดิ่งไว้ที่พระดูพระราชวัง เพื่อให้ราษฎรที่ได้รับความเดือดร้อนและไม่ได้รับความเป็นธรรม ไปสั่นกระดิ่งกราบทูลความเดือดร้อนของตนให้พระองค์ทราบ พระองค์ก็จะทรงตัดสินด้วยพระองค์เอง 2. ด้านเศรษฐกิจ พระราชกรณียกิจทางด้านเศรษฐกิจที่สำคัญของพ่ขุนรามคำแหงมหาราช ประกอบด้วย 2.1 โปรดให้สร้างทำนบกักน้ำที่เรียกว่า “สรีดภงส์” เพื่อนำน้ำไปใช้ในตัวเมืองสุโขทัยและบริเวณใกล้เคียง โดยอาศัยแนวคันดินที่เรียกว่า “เขื่อนพระร่วง” ทำให้มีน้ำสำหรับใช้ในการเพาะปลูกและอุปโภคบริโภคในยาม ที่บ้านเมืองขาดแคลนน้ำ 2.2 ทรงส่งเสริมการค้าขายภายในราชอาณาจักรเป็นอย่างดีด้วยการไม่เก็บภาษีผ่านด่านหรือ “จกอบ” (จังกอบ) จากบรรดาพ่อค้าที่เข้ามาค้าขายในกรุงสุโขทัย ทำให้การค้าขายขายออกไปอย่างกว้างขวาง 3. ด้านวัฒนธรรม พระราชกรณียกิจที่สำคัญของพ่อขุนรามคำแหงมหาราชทางด้านวัฒนธรรม มีดังนี้ 3.1 ทรงคิดประดิษฐ์อักษรไทยขึ้นใช้แทนตัวอักษรขอมที่เคยใช้กันมาแต่เดิม เมื่อ พ.ศ. 1826 เรียกว่า “ลายสือไทย” และได้มีการพัฒนาการมาเป็นลำดับจนถึงอักษรไทยในยุคปัจจุบัน ทำให้คนไทยมีอักษรไทยใช้มาจนถึงทุกวันนี้ 3.2 ทรงรับเอาพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท ลัท ธิลังกาวงศ์ จากลังกา ผ่านเมืองนครศรีธรรมราช มาประดิษฐานที่เมืองสุโขทัย ทำให้พระพุทธศาสนาวางรากฐานมั่นคงในอาณาจักรสุโขทัย และเผยแผ่ไปยังหัวเมืองต่างๆในราชอาณาจักรสุโขทัย จนกระทั่งได้กลายเป็นศาสนาประจำชาติไทยมาจนถึงทุกวันนี้ 3.3 โปรดให้จารึกเรื่องราวบางส่วนที่เกิดในสมัยของพระองค์ โดยปรากฏอยู่ในศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่ 1 ทำให้คนไทยยุคหลังได้ทราบ และนักประวัติศาสตร์ได้ใช้ศิลาจารึกดังกล่าวเป็นข้อมูลหลักฐานในการศึกษาค้นคว้าเรื่องราวประวัติศาสตร์สุโขทัย 4. ด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ พระราชกรณียกิจทางด้านความสำคัญระหว่าง ประเทศของพ่อขุนรามคำแหง ได้แก่ การใช้ความสัมพันธ์ทางด้านการทูตและความสัมพันธ์ทางด้านวัฒนธรรม โดยเฉพาะทางด้านพระพุทธศาสนาแทนการทำสงคราม ทำให้สุโขทัยมีแต่ความสงบร่มเย็น ไม่เกิดสงครามกับแคว้นต่างๆ ในสมัยของพระองค์ และได้หัวเมืองประเทศราชเพิ่มขึ้นอีกด้วย

[แก้]

วันจันทร์ที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2554

ความเข้าใจผิดเรื่องคอเรสเตอรอลกับกะทิ ถั่ว และไขมันจากพืช

คนส่วนมากมักเข้าใจว่า กะทิ และถั่ว มีคอเลสเตอรอลสูง แต่ความจริงแล้ว อาหารจากพืชนั้นไม่มีคอเลสเตอรอล คอเลสเตอรอลมากับอาหารที่มาจากสัตว์เท่านั้นฉลากอาหารข้างบรรจุภัณฑ์ เช่น ข้างขวดน้ำมันพืชยี่ห้อต่างๆ หรืออาหารแปรรูปที่มาจากพืช มักเขียนว่า "ไม่มีคอเลสเตอรอล" นั่นไม่ใช่ความผิด ไม่ได้หลอกลวง และไม่ได้โกหก แต่เป็นกลยุทธ์การโฆษณา ที่อาจส่งผลให้ผู้บริโภคเกิดความเข้าใจผิดว่า น้ำมันพืชยี่ห้ออื่นหรืออาหารประเภทเดียวกันแต่คนละยี่ห้อมีคอเลสเตอรอล ดังนั้น เพื่อความแน่นอน หากต้องการทราบว่าอาหารนั้นมีคอเลสเตอรอลหรือไม่ และให้สารอาหารอะไรบ้างควรอ่านฉลากโภชนาการที่ติดอยู่ข้างบรรจุภัณฑ์ จะได้ไม่ถูกหลอกด้วยกลยุทธ์ในการโฆษณา

วันพฤหัสบดีที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2554

Schengen Visa

Schengen Visa Application
Schengen Visa
Schengen VisaThe Schengen Visa has made traveling between its 15 European member countries much easier and less bureaucratic. Traveling on a Schengen Visa means that the visa holder can travel to any (or all) member countries using one single visa, thus avoiding the hassle and expense of obtaining individual visas for each country. This is particularly beneficial for persons who wish to visit several European countries on the same trip. The Schengen visa is a “visitor visa”. It is issued to citizens of countries who are required to obtain a visa before entering Europe.

The purpose of the visit must be leisure, tourism, or business. Upon the issuance of the visa, the visa holder is allowed to enter all member countries and travel freely throughout the Schengen area. It is strongly recommended to plan your journey within the timeframe of the Schengen Visa as extensions can be very difficult to obtain, thus forcing you to leave to stay in compliance with the Schengen rules and regulations. A Schengen visa allows the holder to travel freely within the Schengen countries for a maximum stay of up to 90 days in a 6 month period. The first step in the application process is to Apply the Schengen Application Guide.


The following 15 countries are currently active Schengen Visa members:
  • Austria
  • Germany
  • Belgium
  • Denmark
  • Finland
  • France
  • Greece
  • Iceland
  • Italy
  • Luxemburg
  • Norway
  • Portugal
  • Spain
  • Sweden
  • The Netherlands